อาการ ปวด ต้นคอ ด้าน ซ้าย

January 15, 2022, 2:54 am
  1. ปวดคอแบบไหน? ที่ส่งสัญญาณว่า… ได้เวลาไปหาหมอ! | โรงพยาบาลเปาโล - Paolo Hospital
  2. อาการปวดคอ... แก้ไขได้ ด้วยการบริหารที่ถูกวิธี | Vibhavadi
  3. ปวดคอไม่ใช่เรื่องเล็ก! รู้ทันอาการ...ลดเสี่ยงอันตรายรุนแรง
  4. วิธีการ สังเกตให้รู้ว่าอาการปวดแขนซ้ายนั้นมาจากโรคหัวใจหรือเปล่า
  5. ปวดคอแบบไหน ส่ออันตราย

ไม่ควรสะบัดต้นคอแรงๆ หรือหมุนคอเร็วๆ 3. ประคบด้วยผ้าชุบน้ำอุ่นบิดหมาด 20-30 นาที หรือใช้แผ่นร้อนประคบบริเวณต้นคอพร้อมกับการบริหารต้นคอร่วมด้วย 4. ถ้าต้องนั่งทำงานนานๆ ควรจะมีเวลาพักเพื่อช่วยลดความตึงเครียดของกล้ามเนื้อหรือบริเวณต้นคอสลับกับการทำงาน 5. ปรับเครื่องใช้สำนักงานให้เหมาะสม เช่น จอคอมพิวเตอร์ ต้องอยู่ระดับสายตา 6. ผู้ที่นั่งขับรถ ควรจะมีพนักพิงรองที่ต้นคอและศีรษะ 7. ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ การบริหารต้นคอ เพื่อเพิ่มการเคลื่อนไหวของคอและเพิ่มความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อต้นคอให้มีแรงพยุงข้อต่อของคอให้แข็งแรงขึ้น 1. ก้มและเงยศีรษะช้าๆ กลับมาหน้าตรง 2. หน้ามองตรง เอียงคอไปด้านข้างหูแนบไหล่มากที่สุด สลับซ้าย-ขวา 3. หน้ามองตรง ค่อยๆหันหน้าไปทางขวาช้าๆ มองตรงสลับไปทางขวาช้าๆ หมายเหตุ: แต่ละท่าควรทำ 10 ครั้ง 4.

ปวดคอแบบไหน? ที่ส่งสัญญาณว่า… ได้เวลาไปหาหมอ! | โรงพยาบาลเปาโล - Paolo Hospital

[15] ถ้าปวดแขนมากขึ้นเวลาขยับไหล่ อาจเป็นเพราะข้อไหล่เสื่อม (shoulder arthritis) หลายคนเลยที่ดิ่งมาแผนกฉุกเฉินเพราะนึกว่าตัวเองหัวใจวาย สุดท้ายกลับเป็นโรคนี้ โรคนี้แหละที่กัดกร่อนผิวนอกเรียบเนียน (cartilage) ของกระดูก พอ cartilage หรือกระดูกอ่อนหมดไป ก็เท่ากับกันชนปกป้องกระดูกลดน้อยลงไปด้วย พอขยับเขยื้อน กระดูกก็จะเสียดสีกัน ทำให้คุณปวดไหล่และ/หรือปวดลามมาที่แขนซ้าย ถึงจะไม่มีวิธีรักษาโรคข้อไหล่เสื่อมให้หายขาด แต่อย่างน้อยก็มีหลายวิธีใช้บรรเทาปวด ถ้าตกลงคุณเป็นโรคนี้ละก็ อย่าเพิ่งเครียดไป มันฟังดูน่ากลัว แต่ก็พอมีวิธีหยุดยั้งการเสื่อมได้บ้าง 3 สังเกตอาการบาดเจ็บที่เส้นประสาท. ถ้าคุณใช้แขนซ้ายไม่ได้ แปลว่าต้องบาดเจ็บที่เส้นประสาท [16] เส้นประสาทที่แขนจะกระจุกตัวกันอยู่ที่ระดับไขสันหลังในคอส่วนล่าง เรียกว่า brachial plexus โดยจะแตกแขนงออกไปเป็นเส้นประสาทที่แขนด้วย ถ้าเส้นประสาทที่แขนเสียหายตั้งแต่ไหล่ลงมาถึงมือ ก็จะเกิดอาการปวดไม่มากก็น้อย แต่มักจะทำให้คุณใช้แขนไม่ค่อยได้ (เช่น เหน็บชา หรือขยับไม่ค่อยได้) สรุปแล้วคุณอาจปวดแขนเพราะเส้นประสาท ไม่ใช่เพราะโรคหัวใจ เช็คความดันเลือดกับชีพจร. ถ้ามีอะไรผิดปกติไป อาจเป็นเพราะโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ (peripheral arterial disease) อันมีสาเหตุมาจากโรคท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) พบบ่อยในหมู่สิงห์อมควัน [17] ถ้าอยากรู้ว่าเป็นเพราะสาเหตุนี้หรือเปล่า ให้รีบไปหาหมอ จะได้วัดความดันและอัตราการเต้นของหัวใจเพื่อวินิจฉัยต่อไป 5 วินิจฉัยเพิ่มเติมเรื่องอาการปวดแขน.

อาการปวดคอ... แก้ไขได้ ด้วยการบริหารที่ถูกวิธี | Vibhavadi

สวัสดีครับ คุณ Chinawat อาการปวดต้นคอนั้น เป็นปัญหาที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในหมู่คนทำงานที่ต้องนั่งท่าเดิมเป็นเวลานานๆครับ ซึ่งสาเหตุที่พบส่วนใหญ่ ก็มีได้ดังนี้ครับ 1. กล้ามเนื้อคออักเสบเกร็ง 2. อาการบาดเจ็บตรงต้นคอ เช่น จากการเล่นกีฬา 3. เส้นประสาทบริเวณคอถูกกดทับ เบื้องต้น ถ้าอาการทุเลาแล้ว ก็ขอแนะนำให้หลีกเลี่ยงการหันคอไปมาก่อนครับ และไม่ควรก้มหรือเงยนานๆ โดยไม่จำเป็น หากจำเป็นต้องนั่งทำงาน ก็ควรลุกขึ้นยืนเปลี่ยนอริยาบถทุกชั่วโมง และหลีกเลี่ยงการเกร็งคอนานๆครับ แต่หากยังมีอาการปวดคอมาก หรือ มีอาการชาที่แขนหรือมือร่วมด้วย ก็ควรพบแพทย์เพื่อทำการตรวจรักษาต่อไปครับ

ปวดคอไม่ใช่เรื่องเล็ก! รู้ทันอาการ...ลดเสี่ยงอันตรายรุนแรง

[18] ลองนึกย้อนไปซิ ว่าคุณเพิ่งบาดเจ็บตรงไหนมาหรือเปล่า ที่คุณปวดแขนซ้ายอาจเพราะบาดเจ็บที่แขนหรือไหล่มาก่อนหน้านี้ก็ได้ ถ้าปวดไม่หายหรือหาสาเหตุไม่ได้ ต้องรีบไปหาหมอทันที ถ้าอยู่ๆ ก็ปวดแขนซ้าย เหงื่อออก สับสนมึนงง และมีอาการเจ็บปวดที่อื่นร่วมด้วย ให้รีบไปหาหมอด่วนเพื่อตัดความเป็นไปได้อื่นๆ ว่าอาจมีภาวะอันตรายถึงแก่ชีวิตออกไป เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้ มีการเข้าถึงหน้านี้ 162, 481 ครั้ง บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

วิธีการ สังเกตให้รู้ว่าอาการปวดแขนซ้ายนั้นมาจากโรคหัวใจหรือเปล่า

แก๊สในกระเพาะอาหาร อาหารหรือเครื่องดื่มบางชนิดเมื่อรับประทานเข้าไปแล้วก็อาจทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร ส่งผลให้รู้สึกปวดท้องบริเวณด้านซ้ายบนทำให้รู้สึกจุกเสียดแน่นท้อง อึดอัดได้ ในกรณีนี้สามารถรักษาได้ด้วยการรับประทานยาลดกรด หรือยาขับลมค่ะ 2. ท้องผูก ด้วยเพราะบางส่วนของลำไส้ใหญ่นั้นอยู่ที่ช่องท้องส่วนบน จึงทำให้คนที่มีปัญหาท้องผูกอาจรู้สึกปวดท้องบริเวณด้านซ้ายบนได้ เนื่องจากอุจจาระที่ค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่ไม่สามารถเคลื่อนตัวไปตามลำไส้ใหญ่ได้ ซึ่งอาการท้องผูกไม่เพียงแต่จะทำให้รู้สึกอึดอัด แต่ยังอาจก่อให้เกิดกลิ่นตัว และกลิ่นปากที่ไม่พึงประสงค์อีกด้วย 3. อาหารเป็นพิษ ภาวะอาหารเป็นพิษถือเป็นอาการอันตรายที่ไม่ควรละเลย โดยสาเหตุเกิดจากการติดเชื้ออย่างเฉียบพลันจากอาหาร โดยอาการหลัก ๆ ของภาวะอาหารเป็นพิษก็คือ อาการปวดท้องด้านซ้ายบน ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดเนื้อปวดตัว และมีไข้สูง ทั้งนี้จะเริ่มแสดงอาการขึ้นภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากรับประทานอาหารที่มีเชื้อโรคที่เป็นต้นเหตุค่ะ 4. กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กอักเสบ การอักเสบที่กระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก ส่วนใหญ่แล้วมีสาเหตุมาจากการรับประทานอาหารที่มีเชื้อไวรัสหรือเชื้อแบคทีเรียปะปนเข้าไปทำให้เกิดอาการปวดท้อง และอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน นอกจากนี้ก็ยังมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร หรือเกิดภาวะขาดน้ำร่วมด้วย โดยอาการอักเสบนี้จะต้องรักษาด้วยยาปฏิชีวนะร่วมกับการใช้ยาเพื่อรักษาตามอาการ เช่น ยาช่วยย่อย ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร 5.

ปวดคอแบบไหน ส่ออันตราย

อาการปวดท้องข้างขวานั้นสื่อถึงโรคอะไรได้บ้าง?

  1. ดู หนัง ออนไลน์ a team 2
  2. ปวดคอไม่ใช่เรื่องเล็ก! รู้ทันอาการ...ลดเสี่ยงอันตรายรุนแรง
  3. หลวง พ่อ โส ธร เนื้อ ผง หยด น้ำ

สาเหตุของอาการปวดคอ 1. กลุ่มอาการเนื้อเยื่อกล้ามเนื้ออักเสบ มีจุดกดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อคอด้านข้างแนวกระดูกสันหลังใต้ท้ายทอย ทำให้ปวดบริเวณต้นคอร้าวขึ้นไปที่ศีรษะ ทำให้มีอาการปวดศีรษะร่วมด้วยได้ พบประมาณ 90% 2. มีแรงกระแทกต่อกระดูกต้นคอทางตรงและ ทางอ้อม เช่น อุบัติเหตุต่างๆ 3. มีการเสื่อมของกระดูกต้นคอตามอายุ ทำให้มีหินปูนเกาะรอบขอบกระดูกไประคายเคืองเส้นประสาทคอปวดร้าวตามไหล่แขนได้พบประมาณ 5% 4. จากอิริยาบถของคอไม่ถูกต้อง เช่น นั่งก้มหน้าทำงานนานๆ หรือ เงยหน้านานๆ ทำให้มีความรู้สึกเมื่อยล้าได้ นอนหมอนสูงเกินไป กึ่งนั่งกึ่งนอนดูทีวี 5. ภาวะเครียด หรือพักผ่อนไม่เพียงพอ อาการและอาการแสดง 1. มีอาการปวดคอ อาจมีปวดร้าวลงมาตามบ่า ไหล่ แขน มือ หรือสะบักข้างใดข้างหนึ่ง 2. อาจมีอาการชาตามแขนหรือนิ้วมือร่วมด้วย ความรู้สึกอาจเปลี่ยนแปลงไป 3. เคลื่อนไหวคอได้น้อยลง ตึงหรือ ปวดๆ ขัดๆ ถ้าเคลื่อนไหวจนสุด 4. มีอาการเกร็งแข็งของกล้ามเนื้อต้นคอ หรือมีจุดกดเจ็บบริเวณท้ายทอย ต้นคอ บ่า 5. อาจมีอาการปวดศีรษะตื้อๆ ข้อแนะนำในการปฏิบัติตัว เมื่อมีอาการปวดคอ 1. นอนหลับ อย่าหนุนหมอนสูงเกินไปหรือหนุนในลักษณะที่ผิดแนวของกระดูก เช่นนอนพาดโซฟา หรือ ม้านั่งหมอนควรรองรับศีรษะต้นคอและบ่าเล็กน้อยถ้าลองสอดมือไม่ควรมีช่องว่างใต้คอ 2.

โรคถุงผนังลำไส้ใหญ่อักเสบ (Diverticulitis) โรคถุงผนังลำไส้อักเสบเป็นโรคที่มักพบได้ในผู้สูงอายุ เพราะยิ่งอายุมากขึ้นเนื้อเยื่อบริเวณผนังลำไส้จะเสื่อมไปตามอายุ ทำให้เมื่อเกิดความดันในลำไส้ใหญ่ ผนังลำไส้ก็จะเกิดการโป่งพอง และบริเวณที่โป่งพองนั้นก็จะกลายเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ทำให้เกิดการอักเสบในเวลาต่อมา โดยอาการดังกล่าวจะก่อให้เกิดอาการปวดที่บริเวณหน้าท้องซ้ายล่าง หรือต่ำกว่าสะดือลงมา โดยจะปวดตลอดเวลา ทั้งนี้ยังอาจมีอาการอุจจาระเป็นเลือด คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ และเบื่ออาหารร่วมด้วย 2. การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ และกรวยไตอักเสบ อันส่งผลให้ปวดท้องที่บริเวณด้านล่างข้างซ้าย ปัสสาวะติดขัด และรู้สึกปวดท้องน้อยขณะปัสสาวะ ซึ่งถ้าหากปล่อยไว้อาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อลุกลามไปจนถึงไต และกลายเป็นโรคไตได้ 3. โรคไต (Kidney Disorders) อาการติดเชื้อที่ไต หรือนิ่วในไต จะทำให้เกิดอาการปวดท้องด้านซ้ายล่างอย่างหนัก ทั้งนี้อาการของโรคไต และนิ่วในไตสามารถแยกแยะได้จากอาการข้างเคียง โดยอาการนิ่วในไต จะมาพร้อมกับอาการไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน และอาการปวดหน่วง ๆ ที่ต้นขา ขณะที่อาการไตอักเสบจะมีอาการปวดท้องด้านซ้ายล่างแบบเฉียบพลัน มีความรู้สึกอยากปัสสาวะตลอดเวลา ปวดแสบปวดร้อนขณะปัสสาวะ หรือปัสสาวะเป็นเลือดร่วมด้วย 4.